สามเณร 9 ประโยค ในกรุงรัตนโกสินทร์
Dhanadis - ธนดิศ Dhanadis - ธนดิศ
204K subscribers
114,961 views
1.7K

 Published On Jul 16, 2022

"การสอบแต่ก่อนนั้น จะสอบก็ต่อเมื่อทางการบ้านเมืองเห็นว่า มีเปรียญน้อยลงแล้ว เปรียญหมายความว่า เป็นผู้รู้ ถ้าสึกออกมาก็มารับราชการ ถ้าอยู่ก็เป็นกำลังพระศาสนา เปรียญน้อยลงเมื่อไร ถึงจะได้สอบเสียทีหนึ่ง เรียกว่า "สอบสนามหลวง"
.
"พระธรรมเจดีย์ (กี มารชิโน) ท่านเล่าว่า ตอนที่ท่านสอบได้ประโยค ๗ นั้น แล้วสอบประโยค ๘ ตก โรคประสาทกิน ท่านไปอยู่ที่ระยอง เพื่อที่จะพักผ่อนให้ได้อากาศทะเล ก็มีสาวที่ระยองมารักท่าน... ขอให้ท่านสึก ท่านไม่ยอมสึก ทางระยองก็อยากให้ท่านเป็นเจ้าคณะจังหวัด ท่านไม่เอา จะเอา ๙ ประโยคให้ได้
.
"พอท่านก็กลับมากรุงเทพฯ ผู้หญิงคนนี้ก็ขัดใจ ตอนตายนี่หญิงคนนั้นบอกว่าจะขอตามอาฆาต ท่านเล่าเลยว่า พอเห็นเสฐียรพงษ์แล้ว หน้าตาเหมือนผู้หญิงคนนั้นเลย"
.
พระ-เณร เรียนเปรียญธรรม 9 ประโยคไปทำไมกัน ? สมเด็จพระสังฆราช (สา) สอบได้เปรียญธรรม 18 ประโยค จริงไหม ? ร่วมหาคำตอบได้ในคลิปนี้ พร้อมทั้งเกร็ดประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสามเณรในกรุงรัตนโกสินทร์ที่สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคจนได้เป็นนาคหลวง โดยเฉพาะกรณี 3 รูปแรกในรัชกาลที่ 9 คือ เสฐียรพงษ์ วรรณปก, สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) และอุทัย เมตตานุภาพ
#ศาสนา #การศึกษา #พระไตรปิฎก
-----------
สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ
   / @dhanadis  
-----------
สนับสนุน พวกเรา "Dhanadis - ธนดิศ" (ทีมแอดมินเพจอาจารย์สุลักษณ์) ให้ทำคอนเทนต์สาระความรู้ทางประวัติศาสตร์จากมุขปาฐะของอาจารย์สุลักษณ์ ได้ที่
ธนาคาร : กรุงศรีอยุธยา
เลขบัญชี : 000-7-14030-0
ชื่อบัญชี : ธนากร ทองแดง
-----------
ผลิตโดย ธนดิศ ([email protected] / 0898064081)
LINE: taotanagon

show more

Share/Embed