ข้อดีและข้อเสียของปุ๋ยทางใบมีอะไรบ้าง(ก่อนใช้ควรรู้ไว้เลย)
Kasetworld โลกแห่งการเกษตร Kasetworld โลกแห่งการเกษตร
189K subscribers
155,788 views
2.3K

 Published On Oct 6, 2020

ข้อดีของปุ๋ยทางใบมีอะไรบ้าง ก่อนเลือกใช้ให้ถูกวิธี
ข้อดีของปุ๋ยทางใบ

1. ช่วยให้พืชเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วหลังจากการย้ายปลูกและตั้งตัวได้แล้ว

2. ใช้กับอาการขาดธาตุอาหารในระยะแรกๆได้ดี

3. ใช้ผสมกับการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดโรคแมลงและควบคุมวัชพืชได้เป็นการประหยัดแรงงาน

4. ใช้กับพืชที่ปลูกในดินที่มีปัญหาเช่นดินเค็มดินเปรี้ยวจัดดินทรายจัดดินเหนียวจัดหรือดินที่มีปัจจัยแวดล้อมขวางการดูดใช้ธาตุอาหารทางระบบราก

5. ใช้ในการเสริมธาตุหลักคือไนโตรเจนในรูปปุ๋ยยูเรียและการให้ธาตุรองและธาตุอาหารเสริมแก่พืช

6. พืชสามารถดูดธาตุอาหารโดยทางใบได้มากกว่าและเร็วกว่าการดูดทางรากต้นไม้จึงใช้ประโยชน์จากธาตุอาหารได้เร็ว

7. ช่วยให้พืชฟื้นตัวเร็วหลักจากชะงักเนื่องจากกระทบแล้งหรือถูกโรคแมลงทำลาย

8. ปุ๋ยน้ำมีความสม่ำเสมอของเนื้อปุ๋ยแน่นอนกว่า

ปุ๋ยชนิดแข็งและปุ๋ยเกล็ดมีปริมาณเนื้อปุ๋ยรวม

(N+P2O5+K2O) สูงกว่าปุ๋ยเม็ดทำให้ทุ่นค่าใช้จ่ายในการขนส่งมากกว่า

9. ปุ๋ยน้ำผลิตง่ายและเปลี่ยนแปลงปรับปรุงสูตรได้ง่ายจึงผลิตได้มากสูตรกว่าปุ๋ยชนิดแข็ง

10. ง่ายต่อการขนส่งและการใช้เมื่อเปรียบเทียบปุ๋ยทางใบกับปุ๋ยทางดินปุ๋ยทางใบมิใช่จะดีกว่าปุ๋ยทางดินในทุกๆเรื่อง

ข้อเสียหรือความไม่เหมาะสมของปุ๋ยทางใบมีหลายประการดังจะได้กล่าวต่อไปฉะนั้นจึงควรพิจารณาข้อดีและข้อเสียก่อนจะเลือกใช้ปุ๋ย
ข้อเสียของการใช้ปุ๋ยทางใบ

1. โดยทั่วไปการใช้ปุ๋ยทางใบเพียงอย่างเดียวไม่สามารถจะให้ธาตุอาหารแก่พืชได้อย่างเพียงพอในปริมาณที่เท่าเทียมกับปุ๋ยทางดินเพราะถ้าให้ในระดับความเข้มข้นสูงเกินไปอาจทำให้พืชใบไหม้

ปุ๋ยทางใบที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้

1. ปุ๋ยพืชที่มีสูตรสูงอย่างน้อยควรมีผสมรวมของN+P2O3+K2O ไม่น้อยกว่า 30 เปอร์เซ็นต์สำหรับปุ๋ยน้ำและ 60 เปอร์เซ็นต์สำหรับปุ๋ยเกล็ด

2. ควรประกอบด้วยธาตุอาหารเสริมบางธาตุหรือหลายๆธาตุนอกเหนือจากธาตุอาหารหลัก N-P-K

3. ควรเป็นปุ๋ยที่มีความเป็นกรดมากพอที่เมื่อนำไปละลายน้ำในระดับความเข้มข้น 0.25-0.30 เปอร์เซ็นต์ของตัวปุ๋ย (ซึ่งเป็นอัตราที่ใช้อยู่ในประเทศไทย) จะได้ส่วนผสมของสารละลายปุ๋ยที่มีค่า pH ระหว่าง 4.5-6.0 ทั้งนี้เนื่องจากค่า pH ในช่วงดังกล่าวใบพืชจะสามารถดูดธาตุอาหารได้ดีและเร็วกว่าค่า pH ของปุ๋ยที่ต่ำหรือสูงกว่านี้

4. ปุ๋ยน้ำควรเป็นปุ๋ยประเภทสารละลายที่ไม่มีความดัน

5. ปุ๋ยเกล็ดควรเป็นปุ๋ยที่สามารถละลายน้ำได้เร็วและละลายได้น้ำทั้งหมด

6. ปุ๋ยน้ำควรเป็นปุ๋ยที่ผลิตจากแม่ปุ๋ยฟอสฟอ-รัสในรูปของสารประกอบหรือสารละลายโพลิฟอสเฟต

7. ปุ๋ยเกล็ดควรอยู่ในรูปผลึกขนาดเล็กที่มีความบริสุทธิ์สูงไม่ชื้นง่ายและไม่ควรมีค่าความชื้นมากกว่า 1เปอร์เซ็นต์

2. การให้ปุ๋ยทางใบเพียงอย่างเดียวจะทำได้เฉพาะกับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงมากเท่านั้นเพราะจะต้องให้ปุ๋ยบ่อยครั้งตามกำหนดเวลาอย่างสม่ำเสมอ

3. ปุ๋ยน้ำชนิดสารละลายไม่สามารถผลิตให้มีเกรดสูงๆได้โดยทั่วไปมักมีปริมาณของธาตุอาหารรวมของ

(N+P2O5+K2O) ไม่เกิน 30 เปอร์เซ็นต์

4. ปุ๋ยเกล็ดมักมีคุณสมบัติดูดความชื้นจากอากาศได้ง่ายกว่าปุ๋ยเม็ดแม้จะมีการใส่สารป้องกันความชื้นแล้ว

ก็ตามทำให้เสื่อมคุณภาพเร็ว

5. ราคาต่อหน่วยของธาตุอาหารในปุ๋ยน้ำสูงกว่าราคาต่อหน่วยของธาตุอาหารในปุ๋ยเม็ดและปุ๋ยเกล็ดเพราะโดยทั่วไปปุ๋ยน้ำจะมีเกรดต่ำกว่าปุ๋ยชนิดแข็ง (ปุ๋ยเม็ดและปุ๋ยเกล็ด)

6. ราคาต่อหน่วยของธาตุอาหารในปุ๋ยเกล็ดสูงกว่าราคาต่อหน่วยของธาตุอาหารในปุ๋ยเม็ดมากเพราะแม่ปุ๋ยที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยผสมชนิดเกล็ดมีราคาแพงกว่าแม่ปุ๋ยที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยเม็ด

7. ปุ๋ยน้ำละลายธาตุอาหารเสริมและธาตุอาหารรองได้น้อยยกเว้นปุ๋ยน้ำที่ใช้แม่ปุ๋ยในรูปของสารประกอบพวกโพลิฟอสเฟตและสารคีเลต

8. ปุ๋ยน้ำโดยทั่วไปจะควบคุมคุณภาพได้ยากกว่าปุ๋ยเม็ดและปุ๋ยเกล็ด

** ติดตามทาง Facebook**
FB : https://bit.ly/3tMSwDY
FB Fanpage : https://bit.ly/3lz5EsL
ขอบคุณครับ

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ธาตุอาหารหลัก รอง จุลธาตุ และกลุ่มสารชีวภัณฑ์ ที่จำหน่ายทั่วไป
(ทางช่องมิได้จำหน่ายเป็นเพียงนำมาเป็นตัวอย่างเท่านั้น ขอบคุณครับ)
*** กลุ่มพลังงานทางเลือก Solarcell Link : https://bit.ly/3zjR7WT
*** กลุ่ม อุปกรณ์ทำสวน (เครื่องตัดหญ้า และอื่นๆ) Link : https://bit.ly/3zjR7WT
*** กลุ่ม แตกแต่งสวน (เครื่องตัดแต่งกิ่ง และอื่นๆ Link : https://bit.ly/3CpdvzI
*** กลุ่มดินปุ๋ย และอุปกรณ์เพาะชำ (ปุ๋ย ฮอร์โมน ต่างๆ) Link : https://bit.ly/3Af1YT7
*** กลุ่มรถ และเครื่องตัดหญ้า (ทุกยี่ห้อ) Link : https://bit.ly/2VUhVPO
*** กลุ่ม ระบบรดน้ำต้นไม้ Link : https://bit.ly/3hH0w4M
*** กลุ่มอุปกรณ์ตกแต่งสวน Link : https://bit.ly/3tQwJv3
*** กลุ่มพันธุ์ไม้ต่างๆ Link : https://bit.ly/3CoCoMi
*** กลุ่มอุปกรณ์ทำครัวหลังจากขึ้นจากแปลงเกษตร LinK : https://bit.ly/3CnqXEw

**เชื้อไตรโคเดอร์มา และ บีเอส **
1. หัวเชื้อไตรโคเดอร์มา และบีเอส (BS) จาก ม.เกษตร (เฟชบุ๊ค ของ อ.ประชุม รื่นนุสาร)
Link : https://bit.ly/2VCqDSC
2... ไตรซาน ไตรโคเดอร์มา กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3uZTMT8
3... เชื้อไตรโคเดอร์มาเข้มข้น กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3cmLDSt
4... ชีวภัณฑ์ ลาร์มิน่า เชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทีลีส AP-01 (Bacillus subtilis) 1000 กรัม กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3cpkqyt

**แคลเซียม-โบรอน **
1..โฟแมกซ์ แคลเซียมโบรอน 400 ขนาด 1 ลิตร Link : https://bit.ly/3qPFowy
2..ยาราวีต้า แคลซิพลัส แคลเซียม-โบรอน ขนาด 1 ลิตร Link : https://bit.ly/3ABtB9o

** สารจับใบ**
1… สารจับใบ ยาจับใบ สารเสริมประสิทธิภาพ สูตรเข้มข้น 1 ลิตรสารจับใบ ยาจับใบ สารเสริมประสิทธิภาพ สูตรเข้มข้น 1 ลิตร กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3dD832n
(ก่อนตัดสินใจซื้อขอให้พี่น้องเกษตรกรอ่านรายละเอียดให้รอบคอบก่อนซื้อทุกครั้งและควรเลือกเปรียบเทียบกันหลายๆร้านนะครับ ขอบคุณครับ )

show more

Share/Embed